วันอังคารที่ 08 มกราคม 2019 เวลา 10:05 น.
เขียนโดย กองสวัสดิการ
ฐานข้อมูลเกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น
องค์การบริหารส่วนตำบลดอนใหญ่ อำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี
ประจำปี พ.ศ. 2562
-
ข้อมูลเกี่ยวกับศาสนาสถาน
ลำดับที่
|
ชื่อ
|
หมู่ที่
|
ชื่อเจ้าอาวาส (ปัจจุบัน)
|
จำนวน
พระสงฆ์
|
จำนวน
สามเณร
|
1.
|
วัดดอนสาลี
|
1
|
พระครูสุวัชชัยรักษาการ
|
6
|
-
|
2.
|
วัดตาลเตี้ย
|
๓
|
พระครูวินัยธรสุนศักดิ์ สุรเตโช
|
11
|
-
|
3.
|
วัดดอนใหญ่
|
๕
|
พระสมุห์ไพบูลย์ ภัทถาจาโร
|
๑๑
|
-
|
4.
|
วัดลำน้ำ
|
๙
|
พระมหาสสะฉันทะโก
|
๙
|
-
|
6.
|
วัดบุญมงคล
|
5
|
พระมหาสมบูรณ์ สัมปุณโณ
|
6
|
|
-
ข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น
ลำดับที่
|
ประเพณี/วัฒนธรรม
|
ประวัติความเป็นมา/ความสำคัญ
|
ช่วงเวลา
|
สถานที่ปฏิบัติ
|
1.
|
วันมาฆบูชา
|
วันมาฆบูชา เป็นสำคัญวันหนึ่งของพระพุทธศาสนา เป็นที่รู้กันว่าเป็นวันเกิดพระธรรม ถือว่าเป็นวันที่พระพุทธเจ้าได้ประกาศหลักธรรมคำสอนของพระองค์ เพื่อให้พระอรหันต์ทั้งหลาย ที่มาประชุมพร้อมกันในวันนั้น นำไปเผยแผ่
|
ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4
|
- ศาสนสถานในพื้นที่
|
2.
|
ประเพณีวันสงกรานต์
|
ประเพณีสงกรานต์ ถือเป็นประเพณีวันขึ้นปีใหม่ไทยที่ถือปฏิบัติสืบเนื่องกันมาแต่โบราณ เป็นวัฒนธรรมประจำชาติที่งดงามและฝังลึกเข้าไปในชีวิตของคนไทยมานาน มีการทำบุญตักบาตร สรงน้ำพระ รดน้ำขอพรผู้สูงอายุให้อยู่เย็นเป็นสุข และกิจกรรมต่างๆ มากมาย
|
วันที่ 1๒ – ๑๓ เมษายน ของทุกปี
|
- ครอบครัวชุมชน อบต.ดอนใหญ่ ศาสนสถานในพื้นที่
|
๓.
|
วันวิสาขบูชา
|
การบูชาในวันเพ็ญ ขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะ หรือเดือน 6 เนื่องในโอกาสวันคล้ายวัน พระพุทธเจ้าประสูติ ตรัสรู้ และเสด็จดับขันธปรินิพพานพุทธศาสนิกชนจะบำเพ็ญกุศล ทำบุญตักบาตร บริจาคทาน ปฏิบัติธรรมที่วัด รักษาศีล ไหว้พระ สวดมนต์ ฟังธรรม เวียนเทียน เจริญภาวนาฯ
|
ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6
|
- ศาสนสถานในพื้นที่
|
ลำดับที่
|
ประเพณี/วัฒนธรรม
|
ประวัติความเป็นมา/ความสำคัญ
|
ช่วงเวลา
|
สถานที่ปฏิบัติ
|
๔.
|
วันเข้าพรรษา
|
การเข้าพรรษาเป็นพุทธบัญญัติ ซึ่งพระภิกษุสงฆ์ ทุกรูปจะต้องปฏิบัติตาม หมายถึง การอธิฐานอยู่ประจำที่ไม่เที่ยวจาริกไปยังสถานที่ต่างๆ เว้นแต่มีกิจจำเป็นจริงๆ ช่วงจำพรรษาจะอยู่ในช่วงฤดูฝนที่มีกำหนดเป็นระยะเวลา 3 เดือน มีประเพณีสำคัญที่ขาดไม่ได้เลย คือ ประเพณีหล่อเทียนเข้าพรรษาและประเพณีถวายผ้าอาบน้ำฝน
|
แรม 1 ค่ำ เดือน 8
|
- ศาสนสถานในพื้นที่
|
๕.
|
วันอาสาฬหบูชา
|
การบูชาในวันเพ็ญ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันที่พระพุทธเจ้าทรงประกาศพระพุทธศาสนาเป็นครั้งแรก โดยการแสดงปฐมเทศนาโปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสปตนมฤคทายวัน จนพระอัญญาโกณฑัญญะ ได้ บรรลุธรรม และขอบวชเป็นพระภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา จนถือได้ว่า เป็นวันแรกที่มีพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ครบเป็นองค์พระรัตนตรัย
|
วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
|
- ศาสนสถานในพื้นที่
|
๖.
|
วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
|
วันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ผู้ทรงประทานความรัก ความเมตตา และเสียสละความสุขส่วนพระองค์ ส่งเสริมอาชีพ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต องค์กรและหน่วยงานต่างๆ ได้จัดที่ไว้สำหรับลงนามถวายพระพร และมีการจัดกิจกรรม/โครงการเทิดพระเกียรติฯ เช่น การบำเพ็ญประโยชน์ รณรงค์ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์พระราชกรณียกิจด้านต่างๆ การจัดนิทรรศการ ประดับธงชาติตามสถานที่ราชการ อาคาร บ้านเรือน ทำบุญตักบาตรเพื่อถวายเป็นพระราชกุศล ร่วมพิธีถวายพระราชสดุดี ฯ
|
วันที่ 12 สิงหาคมของทุกปี
|
- ครอบครัว ชุมชน หมู่บ้าน อบต. อำเภอ จังหวัดฯ
|
ลำดับที่
|
ประเพณี/วัฒนธรรม
|
ประวัติความเป็นมา/ความสำคัญ
|
ช่วงเวลา
|
สถานที่ปฏิบัติ
|
๗.
|
ประเพณีสารทเดือนสิบ
|
ประเพณีสารทเดือนสิบมีมาตั้งแต่พุทธกาล คาดว่าเมื่อพระพุทธศาสนาเผยแพร่เข้ามาเป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อบรรพบุรุษ ทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว และเป็นโอกาสหนึ่งที่ได้รวมญาติพบปะพี่น้องที่อยู่ห่างไกลมีการทำขนมต่างๆ มากมาย เช่น ขนมกระยาสารท
|
วันแรม ๑ ค่ำ ถึง แรม ๑๕ เดือนสิบ
|
|
๘.
|
วันออกพรรษา
|
วันออกพรรษา เป็นวันที่พ้นจากข้อกำหนดทางพระวินัยที่ต้องอยู่ประจำที่ หรือในวัดแห่งเดียวตลอด 3 เดือน พระสงฆ์ได้ทำปวารณา เปิดโอกาสให้เพื่อนพระภิกษุว่ากล่าวตักเตือนเรื่องความประพฤติของตน เพื่อให้เกิดความบริสุทธิ์ ความเคารพนับถือและสามัคคีกัน เมื่อออกพรรษาแล้วจะได้นำความรู้จากหลักธรรมและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างพรรษาไปเผยแผ่แก่ประชาชน พุทธศาสนิกชนจะไปทำบุญทำทาน รักษาศีลและฟังธรรมเป็นกรณีพิเศษ
|
วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
|
- ศาสนสถานในพื้นที่
|
9.
|
ประเพณีกาทอดกฐิน
|
การทอดกฐิน คือ การนำผ้ากฐินไปวางไว้ต่อหน้าพระสงฆ์อย่างต่ำ 5 รูป แล้วให้พระสงฆ์รูปใดรูปหนึ่งที่ได้รับมอบหมายจากคณะสงฆ์ทั้งนั้นเป็นเอกฉันท์ให้เป็นผู้รับกฐินนั้น การทอดกฐินในแต่ละปีกำหนดให้มีการจัดทอดกฐินขึ้นภายใน 1 เดือน หลังวันออกพรรษา โดยวัดที่จะสามารถรับกฐินได้ ต้องมีพระภิกษุจำพรรษาโดยไม่ขาดพรรษาเลย แต่ละวัดสามารถรับกฐินได้ปีละ 1 ครั้ง
|
แรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงกลางเดือน 12
|
- ศาสนสถานในพื้นที่
|
10.
|
ประเพณีลอยกระทง
|
ลอยกระทง เป็นประเพณีที่สำคัญ ได้สืบทอดกันมาตั้งแต่โบราณ โดยมีความเชื่อหลายประการ เช่น แสดงความสำนึกถึงบุญคุณของแม่น้ำที่เราได้อาศัยน้ำกิน น้ำใช้ การขอขมาต่อพระแม่คงคาที่ได้ทิ้งสิ่งปฏิกูลต่างๆ ลงไปในน้ำ การสะเดาะเคราะห์ และสิ่งไม่ดีต่างๆ ให้ลอยตามแม่น้ำไปกับกระทง และยังเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวอีกด้วย
|
วันเพ็ญ (ขึ้น 15 ค่ำ) เดือน 12
|
- ในพื้นที่ตำบลและใกล้เดียว
|
ลำดับที่
|
ประเพณี/วัฒนธรรม
|
ประวัติความเป็นมา/ความสำคัญ
|
ช่วงเวลา
|
สถานที่ปฏิบัติ
|
11.
|
วันธรรมสวนะ
|
วันธรรมสวนะ เรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า “วันพระ” หมายถึง การฟังธรรมของชาวไทยพุทธเมื่อถึงวันธรรมสวนะ คือ วันขึ้น ๘ ค่ำ แรม ๘ ค่ำ และวันขึ้น ๑๕ ค่ำ แรม ๑๕ ค่ำ พุทธศาสนิกชนจะเตรียมอาหาร ผลไม้ เครื่องสักการะไปวัด เพื่อถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ รวมทั้งรักษาศีล เจริญจิตภาวนาและฟังธรรมเทศนา
|
ทุกวันธรรมสวนะ
|
- ศาสนสถานในพื้นที่
|
12.
|
ประเพณีเกี่ยวกับงานแต่ง
|
พิธีกรรมเกี่ยวกับการแต่งงานสมัยโบราณมีขั้นตอนต่างๆ หลายขั้นตอนเริ่มจากการเกี้ยวพาราสี การทาบทาม การสู่ขอและการแต่งงาน เมื่อขบวนเจ้าบ่าวไปถึงบ้านเจ้าสาวมักจะถูกปิดทางไม่ให้เข้าไปต้องมีการจ่ายค่าผ่านทาง ญาติเจ้าสาวจะจูงมือเจ้าบ่าวไปในห้องประกอบพิธี เมื่อได้มีการตรวจสอบสินสอดทองหมั้นเรียบร้อยแล้ว จึงประกอบพิธีสงฆ์ ถวายภัตตาหาร แล้วมีพิธีกราบหมอนเจ้าบ่าวมอบของขวัญให้เจ้าสาว เป็นอันเสร็จพิธี และมีการเลี้ยงแขก ตกค่ำจะมีพิธีห้องหอให้คู่บ่าวสาว เรียกว่า “การเรียงสาด เรียงหมอน”
|
มีการดูฤกษ์ยามวันดีได้ตลอดทั้งปี
|
- ส่วนใหญ่จะจัดบ้านเจ้าสาวหรือสถานที่ต่างๆ ตามความสะดวก
|
๑๓.
|
ประเพณีการบวชนาค
|
ตามประเพณีชายไทย อายุ ๒๐ ปีบริบูรณ์ จะต้องบวชทดแทนบุญคุณพ่อแม่ การบวชสมัยก่อนต้องบวชกัน ๑ พรรษา ปัจจุบันระยะเวลาอาจจะน้อย เช่น ๗ วัน ๑๕ วัน ๓๐ วัน การบวชถือได้ว่า ผู้บวชจะได้ศึกษาถึงหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าเพื่อจะนำปฏิบัติอย่างเคร่งครัด มีความอดทน อดกลั้น เข้าใจโลกธรรม
|
มีการดูฤกษ์ยาม วันดี ได้ตลอดทั้งปี
|
- ศาสนสถานในพื้นที่
|
ฐานข้อมูลกลุ่มอาชีพและภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านเกษตร
ที่
|
ชื่อของภูมิปัญญา
|
ชื่อของเจ้าของภูมิปัญญา
|
ที่อยู่
|
1.
|
ปลูกข้าว (ข้าวโอสถ)
|
นายประจวบ ปราณีชน
|
ม.3 ต.ดอนใหญ่
|
2.
|
ถนอมอาหาร (ปลาส้ม)
|
น.ส.จรรยา เค็นแฝง
|
ม.๒ ต.ดอนใหญ่
|
3.
|
การทำปุ๋ยหมัก
|
นายเสน่ห์ วิเชนสวัสดิ์
|
ม.๙ ต.ดอนใหญ่
|
4.
|
การขยายพันธุ์และปลูกพืชสวน
|
นายสมส่วน ปิ่นนิล
|
ม.๙ ต.ดอนใหญ่
|
๕.
|
การขยายพันธุ์และเพาะเลี้ยงกุ้ง
|
นายประกอบ ทรัพย์ยอดแล้ว
|
ม.๖ ต.ดอนใหญ่
|
6.
|
การเลี้ยงปลาน้ำจืด
|
นายอัครวัฒน์ แสงจันทร์
|
ม.๔ ต.ดอนใหญ่
|
7.
|
การเก็บผลผลิตพืชสวน
|
นางอำไพ เปี๊ยะดี
|
ม.๑ ต.ดอนใหญ่
|
8.
|
การจับสัตว์เลี้ยง (กุ้ง, ปลา)
|
นางละออ สินประเสริฐ
|
ม.๘ ต.ดอนใหญ่
|
9.
|
การสานสุ่มไก่
|
นายเผือก หลวงพันเทา
|
ม.๓ ต.ดอนใหญ่
|
๑0.
|
การเลี้ยงไก่สายพันธุ์ต่างๆ
|
นายเสาร์ พุฒซ้อน
|
ม.๔ ต.ดอนใหญ่
|
ด้านดนตรี นาฏศิลป์ การนวด และการละเล่นพื้นบ้าน
ที่
|
ชื่อของภูมิปัญญา
|
ชื่อของเจ้าของภูมิปัญญา
|
ที่อยู่
|
1.
|
การฟ้อนรำ ดนตรีไทย ลิเก
|
นายสำริด บัวผึ้ง
|
ม.๕ ต.ดอนใหญ่
|
2.
|
ดนตรีไทย (ระนาด)
|
นายสมบัติ เครือวรรณ์
|
ม.๗ ต.ดอนใหญ่
|
3.
|
กลองยาวพื้นบ้าน
|
นายเสาร์ พุฒซ้อน
|
ม.๔ ต.ดอนใหญ่
|
4.
|
นวดแผนไทย
|
น.ส.บุญชู เพื่อนจันทร์
|
ม.๒ ต.ดอนใหญ่
|
5.
|
นวดแผนไทย
|
น.ส.มาลัย สร้อยทอง
|
ม.๕ ต.ดอนใหญ่
|
6.
|
นวดแผนไทย
|
นางโสภา เค้ากุ้ย
|
ม.๗ ต.ดอนใหญ่
|
7.
|
เปตอง, สะบ้า
|
นายเล็ก เทพโพธา
|
ม.๕ ต.ดอนใหญ่
|
ด้านหัตถกรรม สิ่งประดิษฐ์ และการแปรรูปผลิตภัณฑ์
ที่
|
ชื่อของภูมิปัญญา
|
ชื่อของเจ้าของภูมิปัญญา
|
ที่อยู่
|
1.
|
ผลิตภัณฑ์จากผักตบชวา
|
นางสมนึก บุญพามี
|
ม.๖ ต.ดอนใหญ่
|
2.
|
สานสุ่มไก่
|
นายเผือก หลวงพันเทา
|
ม.๓ ต.ดอนใหญ่
|
๓.
|
ปลาส้ม (แปรรูปปลาตะเพียน)
|
น.ส.จรรยา เค็นแฝง
|
ม.๒ ต.ดอนใหญ่
|
๔.
|
น้ำพริกแกง, น้ำหมักชีวภาพ, พวงหรีด
|
กลุ่มแม่บ้านลำน้ำพัฒนา
|
ม.๙ ต.ดอนใหญ่
|
5.
|
ผลิตภัณฑ์ดอกมะลิจากกระดาษทิชชู
|
กลุ่มสตรีตำบลดอนใหญ่
|
ม.๓ ต.ดอนใหญ่
|
6.
|
ผลิตภัณฑ์แปรรูปผลิตภัณฑ์จากดอกมะลิ
|
กลุ่มสตรีตำบลดอนใหญ่
|
ม.๓ ต.ดอนใหญ่
|
7.
|
ดอกไม้จากผ้าใยบัว
|
กลุ่มแม่บ้านดอนสาลี
|
ม.๑ ต.ดอนใหญ่
|
ด้านอาหาร เครื่องดื่ม สมุนไพรและยารักษาโรค
ที่
|
ชื่อของภูมิปัญญา
|
ชื่อของเจ้าของภูมิปัญญา
|
ที่อยู่
|
1.
|
ข้าวไรซ์เบอรี่ (ข้าวโอสถ)
|
นายประจวบ ปราณีชน
|
ม.๓ ต.ดอนใหญ่
|
2.
|
ปลาส้ม
|
น.ส.จรรยา เค็นแฝง
|
ม.๒ ต.ดอนใหญ่
|
3.
|
ขนมไทย
|
นางกาหลง กลิ่นมาก
|
ม.๗ ต.ดอนใหญ่
|
4.
|
ขนมไทย
|
นางละห้อย สโมสร
|
ม.๘ ต.ดอนใหญ่
|
๕.
|
ขนมไทย
|
นางสร้อยระย้า ใจเด็จ
|
ม.๙ ต.ดอนใหญ่
|
๖.
|
อาหารไทยพื้นบ้าน
|
นางมาลัย อยู่แสง
|
ม.๖ ต.ดอนใหญ่
|
๗.
|
อาหารไทยพื้นบ้าน, เครื่องดื่มสมุนไพร
|
นางอำไพ เปี๊ยะดี
|
ม.๑ ต.ดอนใหญ่
|
๘.
|
เครื่องดื่ม
|
น.ส.สิริวิมล หลวงพันเทา
|
ม.๓ ต.ดอนใหญ่
|
๙.
|
สมุนไพรป้ายลิ้น
|
นางเฉลียว กลัดงามดี
|
ม.๔ ต.ดอนใหญ่
|
ด้านศาสนา วัฒนธรรม
ที่
|
ชื่อของภูมิปัญญา
|
ชื่อของเจ้าของภูมิปัญญา
|
ที่อยู่
|
1.
|
พิธีกรทางศาสนา
|
นายสมบูรณ์ จัดละ
|
ม.๗ ต.ดอนใหญ่
|
2.
|
พิธีกรทางศาสนา
|
นายเสาร์ พุฒซ้อน
|
ม.๔ ต.ดอนใหญ่
|
3.
|
พิธีกรทางศาสนา
|
นายสมบัติ เครือวรรณ์
|
ม.๗ ต.ดอนใหญ่
|
4.
|
พิธีกรทางศาสนา
|
นายบัว คำวัดไทร
|
ม.๘ ต.ดอนใหญ่
|